Category: BRIA II

Connecting Farmers to Sustainable Rice Supply Chain and Beyond

Writer:Apiradee Treerutkuarkul Photos: Rinda Keawkhonkaen, GIZ Thailand’s Agriculture and Food Cluster More than 20 years have passed since Udorn Khamwongsa switched from working as an electrician in northern Thailand to becoming a full-time farmer in

จีไอแซดจับมือภาครัฐ-เอกชนเดินหน้าเชื่อมโยงตลาดข้าวยั่งยืนเพื่อเกษตรกรไทย

เขียนโดย: อภิรดี ตรีรัตน์เกื้อกูล องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) โครงการตลาดนำการผลิตเพื่อเกษตรกรรายย่อย (ประเทศไทย) ชูอุบลราชธานี ร้อยเอ็ด และสุรินทร์ให้เป็นพื้นที่นำร่องผลิตข้าวยั่งยืนพร้อมตั้งเป้าหมายผลผลิตไม่น้อยกว่า 1.5 แสนตัน สร้างโอกาสส่งออกข้าวยั่งยืนในตลาดโลก อุบลราชธานี วันที่ 15 ตุลาคม 2563 – องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ประจำประเทศไทย ภายใต้โครงการตลาดนำการผลิตเพื่อเกษตรกรรายย่อย (ประเทศไทย) (Market-oriented Small Holder Value Chain: MSVC TH) หรือ เบรีย 2 (BRIA

ชาวนาตำบลวัดดาวในชุดป้องกันสารเคมี (เครดิตรูปภาพ: GIZ Thailand)

ชาวนาสุพรรณบุรีกับการอยู่คู่สารเคมีอย่างมีความรับผิดชอบ

เขียนโดย: ปรางทอง จิตรเจริญกุล เจ้าหน้าที่ฝ่ายสื่อสารองค์กร องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ประจำประเทศไทย มีคำถามอยู่ในใจของชาวนาไทยหลายคนว่า ‘พวกเขาปลูกข้าวที่ใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีน้อยลงและมีชีวิตที่ปลอดภัยขึ้นกว่านี้ได้หรือไม่’ ความเคยชินกับการใช้สิ่งเหล่านี้มานาน 20-30 ปี จนการลดปริมาณปุ๋ยเคมีและสารเคมีลงนั้น กลายเป็นการบั่นทอนจิตใจและความมั่นใจในการปลูกข้าวของชาวนาหลายคน ชาวนาตำบลวัดดาวในชุดป้องกันสารเคมี (เครดิตรูปภาพ: GIZ Thailand) การเดินทางลงพื้นที่ไปทำงานในตำบลวัดดาว อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ.2563 เพื่อถ่ายทำวิดีโอประชาสัมพันธ์โครงการข้าวริเริ่มที่ดีแห่งเอเชีย (เบรีย) – การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน หรือชื่อภาษาอังกฤษ​ Better Rice Initiative Asia –

A farmer from Samrong district of Ubon Ratchathani province takes her daughter to the community hall, so they can receive the bonus together. (Photo credit: GIZ Thailand)

เกษตรกรอีสานยิ้มแก้มปริรับเงินโบนัสจากการปลูกข้าวตามมาตรฐานยั่งยืน

เขียนโดย: ปรางทอง จิตรเจริญกุล เจ้าหน้าที่ฝ่ายสื่อสารองค์กร องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ประจำประเทศไทย หลังเรียนรู้เทคนิคการปลูกข้าวตามมาตรฐานยั่งยืนและปรับปริมาณการใส่ปุ๋ยให้เหมาะสมตามสภาพแปลงนาของตน เกษตรกรผู้ปลูกข้าวหลายรายในจังหวัดอุบลราชธานีต่างพากันยิ้มแก้มปริรับเงินโบนัสจากการผลิตข้าวที่มีสิ่งเจือปนต่ำและเป็นไปตามมาตรฐานการผลิตข้าวยั่งยืนสากล พร้อมเป็นตัวอย่างแก่เกษตรกรคนอื่น ๆ ที่ยังลังเลใจไม่กล้าปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการผลิตข้าว สมาชิกเกษตรกรจากโครงการริเริ่มข้าวที่ดีขึ้นแห่งเอเชีย (Better Rice Initiative Asia: BRIA) หันมาผลิตข้าวตามมาตรฐานการผลิตข้าวที่ยั่งยืนแห่งแรกของโลก หรือ Sustainable Rice Platforms (SRPs) ตามคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ของโครงการ โดยในปีนี้ รวมแล้วมีเงินโบนัสสูงถึง 900,000 บาทได้ถูกแจกจ่ายออกไปให้แก่เกษตรกรมากกว่า 1,200 คนในหลายอำเภอของจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งถือเป็นรายได้เพิ่มเติมให้เกษตรกรมีกำลังใจผลิตข้าวที่ดีและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมต่อไป เกษตรกรจากอำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี พร้อมลูกสาว

Scroll to Top