Category: Palm Oil

ความจริงอีกด้านของน้ำมันปาล์ม

เขียนโดย : กนกวรรณ ศาศวัตเตชะ ผู้อำนวยการโครงการ ผู้คนต่างคิดว่าปาล์มน้ำมันเป็นสาเหตุสำคัญของการตัดไม้ทำลายป่า ที่ส่งผลกระทบต่อทั้งสัตว์ป่า ประชากรในท้องถิ่น และทำให้ก๊าซเรือนกระจกเพิ่มมากขึ้น แต่คุณทราบหรือไม่ว่า น้ำมันปาล์มกับการเพาะปลูกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมสามารถดำเนินไปพร้อมกันได้? สวนปาล์มน้ำมันในจังหวัดกระบี่ กนกวรรณ ศาศวัตเตชะ ผู้อำนวยการโครงการเพื่อการผลิตปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย (SCPOPP) กล่าวถึงวิธีการผลิตน้ำมันปาล์มโดยไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมว่า “เรายอมรับว่าการได้มาซึ่งพื้นที่เพาะปลูกและทำสวนปาล์มเป็นอีกหนึ่งสาเหตุที่ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรป่าไม้ แต่การทำสวนปาล์มน้ำมันนั้นไม่ได้ลุกล้ำพื้นที่ป่าทั้งหมด ดังนั้นเราจึงไม่ควรเหมารวมและต่อต้านน้ำมันปาล์ม” “การหันมาใช้น้ำมันปาล์มโดยที่ไม่รู้แหล่งที่มาจะส่งผลเสียมากกว่า เพราะเป็นการปิดกั้นรายได้ของเกษตรกรรายย่อยที่ไม่ได้บุกรุกป่า” เธอกล่าวเพิ่มเติมว่า ประเทศไทยมีระบบป้องกันและอนุรักษ์ป่าไม้ที่ดี ซึ่งพื้นที่ปลูกปาล์มส่วนใหญ่ตั้งอยู่บนแปลงเกษตรเดิมที่เคยปลูกยางพารา ผลไม้ หรือแปลงนาที่ถูกทิ้งร้าง ดังนั้นอัตราการบุกรุกพื้นที่ป่าเพื่อปลูกปาล์มในประเทศไทยจึงแทบจะเป็นศูนย์ กนกวรรณ ศาศวัตเตชะ ผู้อำนวยการโครงการการผลิตปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย (SCPOPP) น้ำมันปาล์มเป็นภัยต่อธรรมชาติ… จริงหรือไม่? ความต้องการน้ำมันปาล์มที่เพิ่มขึ้นอย่างมากในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมา

Palm Oil: the other side of the truth

Writer: Kanokwan Saswattecha, Project Manager Palm oil has an image problem. In the eyes of many people, it is a “villain” that has invaded and destroyed the forest and deprived small and large animals as

รายงานบัญชีแดงขององค์กรระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN)

ความจริงอีกด้านของ ‘น้ำมันปาล์ม’

เขียนโดย: ปรางทอง จิตรเจริญกุล เจ้าหน้าที่ฝ่ายสื่อสารองค์กร องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ประจำประเทศไทย: ภาพลักษณ์ของน้ำมันปาล์มในสายตาใครหลายคนนั้นไม่ต่างจาก “ผู้ร้าย” ที่บุกเข้ามาทำลายผืนป่า พรากชีวิตของสัตว์น้อยใหญ่ และบ้านของชนกลุ่มคนพื้นเมือง มิหนำซ้ำ น้ำมันปาล์มยังเป็นปัจจัยสำคัญของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ตลอดจนปัญหามลพิษทางอากาศขั้นรุนแรง ซึ่งเกิดจากการตัดไม้ทำลายป่าเพื่อปลูกต้นปาล์ม  ทำให้เกิดกระแสต่อต้านและการรณรงค์ให้เลิกใช้น้ำมันปาล์มขึ้น แต่รู้ไหม .​ . น้ำมันปาล์มและการเพาะปลูกที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมนั้นไปด้วยกันได้ สวนปาล์มในจังหวัดกระบี่ ประเทศไทย (เครดิตรูปภาพ: GIZ Thailand) กนกวรรณ ศาศวัตเตชะ ผู้จัดการโครงการการผลิตปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมประจำประเทศไทย หรือ Sustainable and Climate-Friendly Palm Oil

เกษตรกรรายย่อยกับเมล็ดปาล์มน้ำมันที่เขาปลูกด้วยความภาคภูมิใจ (เครดิตรูปภาพ: GIZ Thailand)

น้ำมันปาล์มอยู่รอบตัวเรา แต่มันดีที่สุดแล้วหรือยัง?

เขียนโดย: ทีมเกษตรกรรมและอาหาร องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ประจำประเทศไทย​ เมื่อพูดถึง ‘น้ำมันปาล์ม’ หลายคนอาจมองว่าเป็นเรื่องไกลตัว แต่จริง ๆ แล้ว น้ำมันปาล์มเป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ที่เราใช้ในชีวิตประจำวันหลายอย่าง โดยองค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล (WWF) ได้ทำการสำรวจพบว่า กว่า 50% ของผลิตภัณฑ์ทั้งหมดที่วางจำหน่ายในซูเปอร์มาร์เก็ตนั้นล้วนทำมาจากน้ำมันปาล์มทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็น .. ลิปสติก : น้ำมันปาล์มช่วยให้ลิปสติกคงสีสวย ไม่ละลายในอุณหภูมิสูง แล้วยังช่วยให้สีเรียบเนียนสวยงาม พิซซ่า : น้ำมันปาล์มช่วยให้พิซซ่าคงความสดและคงรูปร่างไม่ให้เปลี่ยนไป บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป : น้ำมันปาล์มช่วยคงให้อาหารสำเร็จรูปอยู่ในสภาพที่พร้อมจะทำเป็นอาหารได้ดี เพียงแค่เติมน้ำร้อนก็พร้อมทานได้เลย ยาสระผม : น้ำมันปาล์มช่วยบำรุงและทำความสะอาดเส้นผมได้ดีเยี่ยม

Youth secures a better future for palm oil

Youth secures a better future for palm oil

Writer: Naylinya Chappanapong, Senior Communication Officer, GIZ Thailand’s Agriculture and Food Cluster About 50 young people from across the region have joined hands to co-create commitment towards ‘shared responsibility’ and called for all parties involved

Scroll to Top