Category: น้ำมันปาล์ม

หลักสูตร TOPSA ออนไลน์ช่วยขยายองค์ความรู้การผลิตปาล์มน้ำมันอย่างยั่งยืน

เรื่องและภาพ: จันทิมา กูลกิจ องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 และมาตรการควบคุมต่าง ๆ  ส่งผลให้ทุกภาคส่วนต้องปรับตัวและหาแนวทางที่เหมาะสมเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และเดินหน้าการทำงานรวมทั้งกิจกรรมต่าง ๆ ภายใต้เงื่อนไขวิถีชีวิตใหม่ และการเว้นระยะห่างทางสังคม ความก้าวหน้าเทคโนโลยีปัจจุบันทำให้การเรียนออนไลน์ การทำงานจากที่บ้าน และการจัดกิจกรรมสัมมนาต่าง ๆ เป็นไปได้อย่าง ช่วยลดค่าใช้จ่ายการเดินทาง การปล่อยก๊าซเรือนกระจก และการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยเหตุนี้โครงการการผลิตปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย (Sustainable and Climate-Friendly Palm Oil Production and Procurement: SCPOPP) จึงได้จัดการฝึกอบรมออนไลน์ (Online Training) เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมได้เรียนรู้บทเรียนและแบ่งปันมุมมองเกี่ยวกับการผลิตน้ำมันปาล์มที่ยั่งยืนและเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ที่มีให้กับเกษตรกรรายย่อย ตัวแทนจากโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม

2 บริษัทผู้ผลิตน้ำมันปาล์มของไทยย้ำ “การผลิตน้ำมันปาล์มอย่างยั่งยืน” สำคัญที่สุด

เรื่อง: กลุ่มเกษตรและความปลอดภัยทางอาหาร การขับเคลื่อนแนวทางเพื่อการผลิตน้ำมันปาล์มอย่างยั่งยืน ต้องมาจากความร่วมมือของทุกภาคส่วน แต่ในฐานะผู้ผลิตของอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม ซึ่งมีบทบาทในการผลิตอย่างมาก จึงต้องเป็นเสาหลักสำคัญที่จะทำให้เมืองไทยเกิดการผลิตน้ำมันปาล์มอย่างยั่งยืนได้จริง สิ่งนี้คือ ความพยายามของน้ำมันพืชปทุม และน้ำมันพืชมรกต 2 ผู้ผลิตที่ใส่ใจความยั่งยืนในเมืองไทย ได้เล็งเห็นความสำคัญ และร่วมกันผลักดันการผลิตน้ำมันปาล์มอย่างยั่งยืนอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด คุณศาณินทร์ ตริยานนท์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท น้ำมันพืชปทุม จำกัดและนายกสมาคมผู้ผลิตไบโอดีเซลไทย คุณศาณินทร์ ตริยานนท์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท น้ำมันพืชปทุม จำกัดและนายกสมาคมผู้ผลิตไบโอดีเซลไทยกล่าวว่า “การพัฒนาไปสู่ความยั่งยืน ชาวสวน โรงสกัด โรงกลั่น รวมถึงโรงไบโอดีเซล และกลุ่มอุตสาหกรรมโอลีโอเคมีคัลส์ ต้องไปด้วยกัน” สำหรับการผลิตน้ำมันปาล์มอย่างยั่งยืน คุณศาณินทร์ ให้ความเห็นไว้ว่าการพัฒนาไปสู่ความยั่งยืน

เปิดตัว “i-PALM” แอพพลิเคชั่น พร้อมให้เกษตรกรสวนปาล์มไทยใช้งานได้แล้ว

เรื่อง: ธิตินัย พงศ์พิริยะกิจ องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) โครงการการผลิตปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย (Sustainable and Climate-Friendly Palm Oil Production and Procurement: SCPOPP) พร้อมเปิดตัวแอพพลิเคชั่น i-PALM เพื่อบันทึกข้อมูลการเพาะปลูกของพวกเขา เพื่อปรับปรุงผลผลิต เว็บไซต์ “i-PALM” ปัจจุบันมีเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันกว่า 3,200 รายในจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี และกระบี่ที่ได้รับการอบรมจากโครงการฯ พร้อมใช้งานแอพพลิเคชั่นนี้ในระยะแรก แอพพลิเคชั่น “i-PALM” บนมือถือ แอพพลิเคชั่น i-PALM ได้รับการออกแบบมาโดยเฉพาะสำหรับเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มได้เรียนรู้วิธีเก็บข้อมูลที่ เช่น ปริมาณปุ๋ยที่เหมาะสม

ภาคธุรกิจเสนอแนวทางผนึกกำลังยกระดับตลาดน้ำมันปาลม์ไทยสู่วิถียั่งยืน

เขียนโดย : Agriculture and Food Cluster Team วงสัมมนาธุรกิจปาล์มชี้ชัด ภาครัฐ นักธุรกิจ และผู้บริโภค เป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญต่อการสนับสนุนน้ำมันปาล์มยั่งยืนให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมในประเทศไทย ด้วยการเรียกร้องบริษัทสินค้าโปรดของพวกเขา และช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อยให้เข้าถึงตลาดโลกผ่านการรับรองมาตรฐานสากลของ RSPO ผู้แทนจากสถานทูตเยอรมันประจำประเทศไทย ผู้บริหาร GIZ ประเทศไทย และ องค์กรเจรจาระหว่างประเทศด้านปาล์มน้ำมันยั่งยืน (RSPO) ให้เกียรติถ่ายภาพหมู่ร่วมกัน (ภาพจากซ้ายไปขวา) ดร.แบนท์ คริสเตียนเซน ที่ปรึกษาทูตฝ่ายอาหารและการเกษตร สถานเอกอัครราชทูตเยอรมนี ประจําประเทศไทย คุณปราการ วีรกุล ที่ปรึกษา สํานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

Scroll to Top