ASEAN SAS

อาเซียน เปิดตัว แพลตฟอร์มการเรียนรู้เพื่อต่อยอดทักษะการค้าของเอสเอ็มอีไทยและภูมิภาค

เรื่องและภาพ : ญาณินท์ ศรีอุดมพงษ์ / GIZ Thailand (จากซ้ายไปขวา) นายอัมรี บุคคารี บัคติยา สำนักเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat นางสาวอรวรินทร์ โหตรภวานนท์ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท อรรดา คอร์ปอเรชั่น จำกัด นายวชิระ แก้วกอ รองผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) นายไรน์โฮลด์ เอลเกส ผู้อำนวยการองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ประจำประเทศไทย และนางสาวมาลัย กรแก้วสมนึก ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาความพร้อมทางการค้า กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ คณะกรรมการประสานงานอาเซียนด้านวิสาหกิจขนาดกลาง ขนาดย่อม และรายย่อย (ASEAN Coordinating Committee on Micro, Small and Medium Enterprises: ACCMSME) ร่วมกับสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) และองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) เปิดตัวอาเซียน แอคเซส เลิร์น (ASEAN …

อาเซียน เปิดตัว แพลตฟอร์มการเรียนรู้เพื่อต่อยอดทักษะการค้าของเอสเอ็มอีไทยและภูมิภาค Read More »

ASEAN launches “ASEAN Access LEARN,” Online training channel to enhance international trade capacities for ASEAN SMEs

Story and Photos: Yanin Sriudomphong/ GIZ Thailand From left to right: Amri Bukhairi Bakhtiar from the ASEAN Secretariat; Onvarin Hotrabhavananda, ASEAN Access Ambassador & CEO of Onrada Corporation Co., Ltd.; Wachira Kaewkor, Deputy Director General, OSMEP; Reinhold Elges, Country Director of GIZ Thailand; and Malai Kornkeuwsomneuk, Director Bureau of Trade Capacity Enhancement representing the Senior …

ASEAN launches “ASEAN Access LEARN,” Online training channel to enhance international trade capacities for ASEAN SMEs Read More »

“ฐานข้อมูลในการจัดการสวน” ช่วยเกษตรกรพัฒนาแผนธุรกิจให้ประสบความสำเร็จ

เรื่องและภาพ:ธิตินัย พงศ์พิริยะกิจ กลุ่มเกษตรและความปลอดภัยทางอาหาร GIZ ประเทศไทย กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกปาล์มน้ำมันอย่างยั่งยืน RSPO – พังงา นำเสนอการแสดงผลข้อมูลด้วย PowerBI การพัฒนาแผนธุรกิจถือเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับเกษตรกรในการเป็นผู้ประกอบการและเพื่อที่จะหลุดพ้นจากกับดักความยากจน ฐานข้อมูลในการจัดการสวนถือว่าเป็นกุญแจสำคัญในการพัฒนาแผนธุรกิจดังกล่าวให้มีประสิทธิภาพและส่งผลให้กลุ่มประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตาม ความพร้อมและความถูกต้องของข้อมูลในการจัดการสวนยังนับว่าเป็นความท้าทายสำคัญในภาคการเกษตรมาหลายสิบปี โครงการการผลิตปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มอย่างยั่งยืน(SPOPP) ที่ได้รับทุนสนับสนุนจากบริษัท โกลบอลกรีนเคมิคอล จำกัด (มหาชน) (Global Green Chemical PCL: GGC) และให้ความสำคัญกับข้อมูลการทำสวนของเกษตรกรมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เริ่มต้นโครงการฯ จึงจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการให้กับสมาชิกโครงการฯ รวม 34 คนจากจังหวัดพังงา ชุมพร กระบี่ และตรัง ในการใช้เครื่องมือเพื่อวิเคราะห์และแสดงผลข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ ระหว่างวันที่ 25-26 ตุลาคม พ.ศ. 2566 ณ โรงแรมอวานีพลัส เขาหลัก จังหวัดพังงา คุณปานรดา วงษ์สุวรรณ เข้าร่วมกิจกรรมสะท้อนความภูมิใจของกลุ่มเกษตรกร ปัจจุบันเกษตรกรเริ่มมีการปรับตัวมากขึ้น พร้อมมีส่วนร่วมและสนับสนุนการเก็บรวบรวมข้อมูลการทำสวนปาล์มน้ำมันอย่างสม่ำเสมอ โดยนำข้อมูลที่ได้บันทึกมาประมวลผลและวิเคราะห์ผ่านแอปพลิเคชัน “i-Palm” ซึ่งเปิดตัวในปี พ.ศ. 2564 ที่ช่วยให้เห็นศักยภาพในการผลิตของตนเอง การพัฒนาสวนให้ดียิ่งขึ้น …

“ฐานข้อมูลในการจัดการสวน” ช่วยเกษตรกรพัฒนาแผนธุรกิจให้ประสบความสำเร็จ Read More »

Farming data for successful business planning

Story and Photos: Thitinai Pongpiriyakit, SPOPP Project RSPO – Phang Nga Oil Palm Production Community Enterprise Group presents data output using PowerBI Business development is crucial for farmers to become entrepreneurs and escape the poverty trap. Having a farming database and action plan can enable farmer groups to keep improving their agribusiness performance. In reality, …

Farming data for successful business planning Read More »

สหภาพยุโรปกับกฎระเบียบ EUDR:มาตรการกีดกันทางการค้าหรือโอกาสทางการค้าของอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มไทย

เรื่อง: กนกวรรณ ศาศวัตเตชะ ภาพ:โครงการการผลิตปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มอย่างยั่งยืน (SPOPP) สหภาพยุโรป (European Union: EU) ได้กำหนดกฎระเบียบใหม่ที่เข้มงวดกว่าเดิม เพื่อพยายามลดปัญหาการทำลายพื้นที่ป่า ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรม ตลอดจนปัญหาการละเมิดสิทธิแรงงานจากภาคการเกษตรทั่วโลก ซึ่งมีชื่อว่า EU Deforestation Regulation หรือ EUDR คาดว่าจะมีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2567 ครอบคลุม 7 กลุ่มสินค้าที่ส่งผลกระทบต่อการทำลายป่ามากที่สุด ได้แก่ โกโก้ กาแฟ ถั่วเหลือง ยางพารา ปาล์มน้ำมัน โค และเนื้อไม้ ตลอดจนผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสินค้าดังกล่าว เช่น ช็อกโกแลต เครื่องหนัง และเฟอร์นิเจอร์   ดังนั้นผู้ประกอบการธุรกิจที่จดทะเบียนอยู่ใน EU และคู่ค้าทางธุรกิจจำเป็นต้องตรวจสอบความถูกต้องและวิเคราะห์สถานะความเสี่ยง (due diligence) ในห่วงโซ่การผลิตของตนจนถึงแหล่งกำเนิด เพื่อพิสูจน์ว่าการดำเนินธุรกิจของตนไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำลายพื้นที่ป่า การทำ due diligence  ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนดังต่อไปนี้ การรวบรวมข้อมูล – รวบรวมข้อมูลตลอดห่วงโซ่การผลิตตั้งแต่แหล่งกำเนิด ได้แก่ …

สหภาพยุโรปกับกฎระเบียบ EUDR:มาตรการกีดกันทางการค้าหรือโอกาสทางการค้าของอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มไทย Read More »

EUDR: A trade barrier or an opportunity for the Thai palm oil industry?

Story: Kanokwan Saswattecha The European Union has introduced the new stringent regulation known as the EUDR to address concerns about deforestation, environmental degradation, and human rights abuses associated with agricultural production activities all over the world.  The deforestation-free regulation will come into effect by 2024 and targets 7 groups of commodities with the greatest impact …

EUDR: A trade barrier or an opportunity for the Thai palm oil industry? Read More »

Scroll to Top